วันเสาร์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

เทคโนโลยีสะอาด

เทคโนโลยีสะอาด




เทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology)  
       ในปจจุบัน ปญหาดานสิ่งแวดลอมไดทวความร ี ุนแรงมากขึ้น จึงมีการนําเทคโนโลยี
ตางๆ มาใชในการปรับปรุงปรับปรุง ผลิตภัณฑ บริการ และกระบวนการ และเทคโนโลยีที่สําคัญ
อีกเทคโนโลยีหนึ่ง ก็คือ เทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology) หรือมีชื่ออื่นๆ ที่มีความหมาย
ใกลเคียงกัน หรือเหมือนกันอีกคือ การปองก  ันมลพิษ (Pollution Prevention) หรือ P2 การผลิต
ที่สะอาด (Cleaner Production หรือ CP) และการลดของเสีย ใหนอยที่สุด (waste 
minimization) มาใช ซึ่งทั้งหมดเปนการปองกันของเสียที่แหลงกําเนิด แทนการควบคุมบําบัด
และจัดของเสียแบบเดิม ที่เมื่อเปรียบเทียบแลว คาใชจายส  ูงกวาการใชเทคโนโลยีสะอาด จะเปน
วิธีการนําไปสมาตรฐานการจ ู ัดการสิ่งแวดลอม ISO14000 ซึ่งเปนที่ยอมรับ ในวงการคาของโลก
ปจจุบันดวย 

ความหมาย 
       โดยสรุปของเทคโนโลยีสะอาด ก็คือ กลยุทธในการปรับปรุง ผลิตภัณฑ 
บริการ และกระบวนการ อยางตอเนื่อง เพื่อจัดการทรัพยากร อยางมีประสิทธิภาพ ให
เปลี่ยนเปนของเสีย นอยที่สุดหรือไมมีเลย การลดมลพิษที่แหลงกําเนิด จึงเปนทั้งการรักษา
สิ่งแวดลอม และการลดคาใชจาย ในการผลิตไปพรอม ๆ กันดวย 
หลักการของเทคโนโลยีสะอาด 
เทคโนโลยีสะอาด จะเนนการปองกันและลดมลพิษตั้งแตตน สวนถามีมลพิษหรือของ
เสียก็ดูวาสามารถ การนํากลับมาใชใหม ใชซ้ําไดหรือไม ทายที่สุดจึงนําไป บําบัด ทิ้งทําลาย 
อยางถูกตองตอไป ซึ่งลําดับความสําคัญในการจัดการของเสีย 

       หลักการของเทคโนโลยีสะอาดแบงออกเปน 2 ดานใหญๆ คือ การลดมลพิษที่
แหลงกําเนิดและการนํากลับมาใชใหม
1. การลดมลพิษที่แหลงกําเนิด 
1.1 การปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑ 
       ทําไดโดยการออกแบบผลิตภัณฑใหมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด หรือใหมีอายุ
การใชงานยาวนานขึ้น ลดการใชสารเคมีอันตรายที่มีผลในการผลิต การใชงาน และการทําลาย
หลังการใชงาน เชน ปรับเปลี่ยนสูตรของผลิตภัณฑ เพื่อลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมเมื่อ
ผูบริโภคนําไปใช ยกเลิกการใชชิ้นสวนหรือองคประกอบในผลิตภัณฑที่ไมสามารถนํากลับมาใช
ใหมได และยกเลิกการบรรจุหีบหอที่ไมจําเปน เปนตน 
1.2 การปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต 
       แบงไดเปน 3 กลุม คือ การเปลี่ยนแปลงวัตถุดิบ การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี และการ
ปรับปรุงกระบวนการใหสะดวก  รวดเร็ว และเกิดของเสียหรือของเหลือใชนอยลง 
       1.2.1 การปรับเปลี่ยนวัตถุดิบ (Input Material Change) 
ทําไดโดยการเลือกใชวัตถุดิบที่มีคุณภาพ หรือมีความบริสุทธิ์สูง 
รวมทั้งการลดหรือยกเลิกการใชวัตถุดิบที่เปนอันตราย เพื่อหลีกเลี่ยงการเติมสิ่ง
ปนเปอนเขาไปในกระบวนการผลิต และพยายามเลือกใชวัตถุดิบที่สามารถนํา
กลับมาใชใหมได เชน การไมใชหมึกพิมพที่มีแคดเมียมเปนสารประกอบ การ
ไมใชน้ํายาไซยาไนดในการชุบผิวโลหะ เปนตน 
        1.2.2 การปรับเปลี่ยนเทคโนโลยี (Technology Improvement) 
ทําไดโดยการออกแบบระบบการผลิตใหม เพิ่มระบบอัตโนมัติเขาไป
ชวยในการผลิต ปรับปรุงคุณภาพของอุปกรณ หรือแสวงหาเทคโนโลยีใหมที่
สามารถชวยใหเกิดของเสียหรือของเหลือจากการผลิตนอยลงมาใช เชน การจัด
วางผังโรงงานใหมที่ชวยลดระยะการเคลื่อนยายวัสดุใหนอยลง การควบคุม
ความเร็วมอเตอรเพื่อควบคุมการสิ้นเปลืองพลังงาน เปนตน ซึ่งเงื่อนไขในการ
นําเทคโนโลยีมาปรับปรุงมีองคประกอบ 5 ประการ
        1.2.3 การบริหารการดําเนินการ (Operational Management) 
ทําไดโดยปรับปรุงวิธีการผลิตเดิมโดยใชเทคนิคการลด การรวม และการทํา
ขั้นตอนการผลิตใหงายขึ้น รวดเร็วขึ้น ซึ่งสงผลทําใหเกิดของเสียจากการผลิต
ลดลง เชน ในกรณีมีผลิตภัณฑหลายแบบ การวางแผนการผลิตที่ดีจะชวยลด
การที่ตองเสียเวลาปรับตั้งเครื่องจักรกอนเริ่มงาน เพราะเปลี่ยนแบบผลิตภัณฑ 
เปนตน 

2. การนํากลับมาใชใหม 
        การนํากลับมาใชใหม แบงออกไดเปน 2 แนวทาง คือ การนําผลิตภัณฑเกากลับมาใช
ใหมหรือการใชผลิตภัณฑหมุนเวียน และการใชเทคโนโลยีหมุนเวียน 
2.1 การใชผลิตภัณฑหมุนเวียน 
       ทําไดโดยการหาทางนําวัตถุดิบที่ไมไดคุณภาพมาใชประโยชน หรือหาทางใช
ประโยชนจากสารหรือวัสดุที่ปนอยูในของเสีย โดยการนํากลับมาใชในกระบวนการผลิต
เดิม หรือกระบวนการผลิตอื่นๆ 
5M 
Measurement (การตรวจสอบคุณภาพ) 
Man (พนักงาน) 
Machine (เครื่องจักร/อุปกรณ) 
Material (วัตถุดิบ/ชิ้นสวนต  างๆ) 
Method (วิธีการทํางาน)  
2.2 การใชเทคโนโลยีหมุนเวียน 
        เปนการนําของเสียไปผานกระบวนการตางๆ เพื่อใหสามารถนําเอากลับมา
ใชไดอีก หรือเพื่อทําใหเปนผลพลอยได เชน การนําน้ําหลอเย็น น้ําที่ใชในกระบวนการ
ผลิตหรือตัวทําละลาย ตลอดจนวัสดุอื่นๆ กลับมาใชใหมในโรงงาน การนําพลังงาน
ความรอนสวนเกินหรือเหลือใช กลับมาใชใหม เปนตน 
 การนําของเสียกลับมาใชใหม (Recycle) ควรจะดําเนินการ ณ จุดกําเนิดของเสียนั้น 
มากกวาการขนยายไปจัดการที่อื่น โดยเฉพาะของเสียที่เกิดจากการปนเปอนของวัตถุดิบ เชน 
การแยกน้ําเสียดวยไฟฟาเพื่อแยกโลหะ เชน ดีบุก ทองแดง หรือตะกั่ว เพื่อนํากลับมาใชงาน ซึ่ง
จะทําไดงาย และมีประสิทธิภาพสูง รวมทั้งลดอัตราเสี่ยงจากการปนเปอนในระหวางการ
รวบรวมหรือขนถาย เปนตน 
 
ขั้นตอนการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสะอาด 
วิธีการดําเนินงานดานเทคโนโลยีสะอาดประกอบดวย 5 ขั้นตอน คือ 
ขั้นตอนที่ 1 การวางแผนและการจัดตั้งทีมงาน (CT Planning & Organization) 
 การวางแผนและการจัดทีมมีวัตถุประสงคเพื่อจะแสดงความรวมมือในการกําหนด
เปาหมายในการทําเทคโนโลยีสะอาด โดยผูประกอบการสงตัวแทนเขารวมกับอาจารยพี่เลี้ยง
และนิสิตฝกงาน 
ขั้นตอนที่ 2 การตรวจประเมินเบื้องตน (Pre assessment) 
 หลังจากที่ไดจัดทีมงานและทราบวัตถุประสงคการทํางานเปนที่เรียบรอยแลว ทีมงานจะ
เริ่มทําการกําหนดขอบเขตการพิจารณาและประเมินเบื้องตนวา ประเด็นใดบางที่เกิดความ
สูญเสียและสามารถปรับปรุงใหดีขึ้นได การประเมินเบื้องตนอาศัยหลักวิชาการประกอบกับ
ประสบการณในทางปฏิบัติของโรงงานในการกําหนดเกณฑการจัดลําดับความสําคัญของแตละ
ประเด็นปญหาที่มีตอสิ่งแวดลอมและเศรษฐศาสตร ผลจากการประเมินนี้จะใชเปนแนวทาง
กําหนดบริเวณหรือทรัพยากรที่จะศึกษาตอไป 
ขั้นตอนที่ 3 การประเมินละเอียด (Detail assessment) 
 เมื่อไดประเด็นที่เกิดความสูญเสียสูงและตองการจะปรับปรุงใหดีขึ้นแลว จึงเริ่มทําการ
ประเมินละเอียดโดยจัดทําสมดุลมวลสารและพลังงานเขา-ออก เพื่อใหทราบถึงแหลงกําเนิดของ
ของเสียและสาเหตุของการสูญเสีย จากนั้นจึงทําการวิเคราะหแนวทางในการแกไขปญหาหรือ
เรียกวา ทางเลือกเทคโนโลยีสะอาด (CT option) 
ขั้นตอนที่ 4 ศึกษาความเปนไปได (Feasibility study)  การศึกษาความเปนไปไดมีวัตถุประสงคเพื่อลําดับความสําคัญของทางเลือกที่ไดจาก
ขั้นตอนการประเมินละเอียดโดยพิจารณาองคประกอบ 3 ดานคือ ความเปนไปไดทางเทคนิค
หรือความเหมาะสมในการนําทางเลือกไปปฏิบัติ ความเปนไปไดทางเศรษฐศาสตร และความ
เหมาะสมดานสิ่งแวดลอม 
ขั้นตอนที่ 5 ลงมือปฏิบัติและติดตามผล (Implementation & evaluation) 
 การลงมือปฏิบัติตองมีแผนการทํางานโดยละเอียดประกอบดวย บริเวณเปาหมาย 
ขั้นตอน ระยะเวลาและผูรับผิดชอบอยางชัดเจน เมื่อดําเนินกิจกรรมไปไดระยะหนึ่งควรติดตาม
ประเมินผลเพื่อใหแนใจวาการปฏิบัติเปนไปตามแผนงานที่กําหนดไวหรือหากมีปญหาจะได
ทบทวนแกไขตอไป 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น